ดรรชนี
วารสารพยาบาลศาสตร์=
/SERIALS
Bib
13399107765
มีดรรชนีวารสาร
•
การแปลและการหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามความสามารถในการเดินสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตันฉบับภาษไทย/ เกศศิริ วงษ์คงคำ
•
ปัจจัยทำนายการคลอดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย/ รุ่งนภา รู้ชอบ
•
ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของวัยรุ่น/ วนิดา เสนะสุทธิพันธ์
•
ผลของการใช้โปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองต่ออาการหายใจลำบากและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง/ ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
•
ผลของโปรแกรมการดูแลต่อเนื่องต่อคุณภาพของการเตรียมลำไส้ และความวิตกกังวลในผู้ที่เข้ารับการส่องกล้องลำไส้ใหญ่และทวารหนักแบบผู้ป่วยนอก/ ภัคภร เกตุสีสังข์
•
อัตรา และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการหกล้มของผู้สูงอายุ: ชุมชนริมน้ำเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี/ วรรณพร บุญเปล่ง
•
ประสบการณ์ และการเตรียมความพร้อมในภาวะภัยพิบัติน้ำท่วมของผู้ป่วยเรื้อรังและญาติผู้ดูแลในประเทศไทย/ จงจิต เสน่หา
•
ผลของการเรียนการสอนโดยใช้กรณีศึกษา ต่อความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาพยาบาล/ สมหญิง โควศวนนท์
•
กฎบัตรออตตาวากับบทบาทการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพ/ ปิยธิดา นาคะเกษียร
•
ผลของการกดจุด LI4 และ BL32 ต่อความเจ็บปวดในระยะที่หนึ่งของการคลอดในผู้ครอดครรภ์แรก/ ดาว แดงดี
•
ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตในผู้หญิงที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม/ ณัฏยา ประหา
•
ความสัมพันธ์ระหว่างระดับน้ำตาลในเลือดหลังการผ่าตัดดัชนีมวลกาย และภาวะโภชนาการ ต่อการหายของแผลบริเวณสันอก ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ/ วรางคณา นับงาม
•
ประสิทธิผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจแบบสมบูรณ์แบบในโรงพยาบาล ต่อการฟื้นตัวหลังผ่าตัดของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ/ อรชุมา นากกรณ์
•
ประสบการณ์การมีอาการ กลวิธีการจัดการอาการ และภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยไตอักเสบลูปัส/ สิริกาญจน์ หาญรบ
•
ประสิทธิผลของนวัตกรรมอัพแอนด์ดาวน์วอล์คเกอร์ต่ออาการปวดข้อเข่า ความมั่นใจเมื่อลุก-นั่ง และความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการหกล้ม / ศุภาพิชญ์ มณีสาคร
•
การสร้างและทดสอบเครื่องมือประเมินวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการแสวงหาการช่วยเหลือทางจิตใจ จากบุคลากรทางสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล/ วไลลักษณ์ พุ่มพวง
•
การศึกษาความถูกต้องและแม่นยำของเครื่องวัดอุณหภูมิทางหูและหน้าผาก ในผู้ป่วยนอกมีไข้และอาสาสมัครไม่มีไข้/ สุนันทา ตั้งปนิธานดี
•
การใช้งานระบบการจัดการวารสารออนไลน์/ ฐิติวัตร พึ่งเงิน
•
ความแตกต่างของความรู้ด้านอนามัยเจริญพันธุ์และการคุมกำเนิดระหว่างวัยรุ่นตั้งครรภ์และวัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์/ นุชรีย์ แสงสว่าง
•
ผลของโปรแกรมการสอนต่อความรู้และความสามารถในการดูแลตนเองในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดแดงโคโรนารี่/ อนุสรา มั่นศิลป์
•
นวัตกรรมการจัดการระบบการดูแลสำหรับผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคไตวายเรื้อรัง: กรณีศึกษา โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่งจังหวัดนครปฐม/ เกศศิริ วงษ์คงคำ
•
อิทธิพลของคุณภาพการนอนหลับ ภาวะโภชนาการ และภาวะโรคร่วมต่อคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต/ ศิรินาชค์ ทองเทียม
•
อิทธิพลของความเครียด สถานภาพทางการเงิน การรับรู้ความรุนแรงของอาการ และการรับรู้อุปสรรคต่อพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพในผู้ป่วยมะเร็งอุ้งกรานขณะได้รับรังสีรักษา/ วิจิตรา นุชอยู่
•
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะโภชนาการของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงที่ได้รับยาเคมีบำบัด/ ภัทริกา ปัญญา
•
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายของพนักงานโรงไฟฟ้าที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์/ ปิยะวดี ทองโปร่ง
•
สมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาล: กรณีศึกษาพื้นที่ภาคกลาง / สมสิริ รุ่งอมรรัตน์
•
ความเครียดในการศึกษาทางการพยาบาล: เทคนิคการผ่อนคลายสำหรับร่างกายและจิตใจ/ วไลลักษณ์ พุ่มพวง
•
ประสบการณ์เรียนรู้จากการนำหลักสูตรการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับวิชาชีพการพยาบาลไปใช้ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแห่งหนึ่งในภาคกลาง/ กีรดา ไกรนุวัตร
•
ปัจจัยทำนายความรู้เรื่องโรคและความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดกั้นในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง/ ณัฐสุรางค์ บุญจันทร์
•
รูปแบบการสร้างเสริมพัฒนาการด้านภาษาแก่เด็กอายุ 2-4 ปี โดยบิดามารดาหรือผู้ดูแล: กรณีศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ ยุวดี พงษ์สาระนันทกุล
•
ความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการมีส่วนร่วมในการดูแล เพศ อายุ การรบกวนจากอาการ และการรับรู้คุณภาพการดูแลของผู้ป่วยมะเร็งโลหิตวิทยาระหว่างรับการรักษาในโรงพยาบาล/ คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
•
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ในสตรีตั้งครรภ์ที่มี Glucose Challenge Test ผิดปกติ/ ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง
•
ปัจจัยทำนายการปฏิบัติของพยาบาลเด็กในการดูแลโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง/ จินดารัตน์ สมใจนึก
•
เปรียบเทียบดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วย และการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางระหว่างผู้ป่วยที่เป็นนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำและผู้ที่ไม่เป็นซ้ำ/ ธิมาภรณ์ ซื่อตรง
•
โปรแกรมการให้ข้อมูล เสริมแรงจูงใจ และทัษะการรับประทานยาเพิ่มความสม่ำเสมอในการรับประทานยาจับฟอสเฟตในผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม/ ภัทราวดี จินตนา
•
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพในเขตพื้นที่ภาคกลาง/ เกศศิริ วงษ์คงคำ
•
ปัจจัยทำนายการปฎิบัติการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ของพยาบาลเด็ก=Factors Predicting Evidence - Based Practice of Pediatric Nurses/ ศศิวิมล ศิริรักษ์ และคณะ
•
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับอาการอ่อนล้าในผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่รัยยาเคมีบำบัด=Factors Related to Fatigue in Pediatric Cancer Patients Receiving Chemotherapy/ จิราพร วงษ์สุวรรณ และคณะ
•
ผลของการให้การปรึกษาเพื่อสร้างแรงจูงใจต่อความพร้อมในการใช้คุมกำเนิดระยะยาวในสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น: การศึกษานำร่อง=Effects of Motivational Counseling on Readiness for Long-Term Contraceptive Use in Pregnant Adolescents: A Pilot Study
•
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศในเยาวชนที่ใช้แอมเฟตามีน=Factors lnfluencing Sexual Risk Behaviors among Youth with Amphetamine Use/ เสาวคนธ์ กลักทองกรณ์
•
ประสิทธิผลของโปรแกรมการวางแผนจำหน่ายแบบผู้ป่วยนอกต่อความวิตกกังวลและความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันในผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดต้อกระจก=The Effectiveness of a Same Day Surgery Discharge Planning Program on Anxiety and Activities of Daily Living in Patients Undergoing Cataract Surgery/ เบญจวรรณ พวงเพชร และคณะ
•
ประสบการณ์การมีอาการอ่อนล้า กลวิธีการจัดการกับอาการและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง=Fatigue Experience Management Strategies, and Functional status in Patients with Chronic Obstructive Pulmonary Disease/ อรุรินทร์ กิติสุขตระกูล และคณะ
•
ผลของโปรแกรมให้ความรู้และประคับประครองจิตใจต่อคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังสีรักษา=The effect of psycho-education program on Quality of life in Woman with Cervical Cancer Undergoing Radiation Therapy/ ชลันดา จดจำ
•
ผลของโปรแกรมให้ความรู้และประคับประคองจิตใจต่อคุณภาพชีวิตในสตรีมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังสีรักษา
•
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสูญเสียหน้าที่ด้านการรับรู้การเข้าใจหลังการผ่าตัด ในผุ้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดหัวใจ/ พรนภา นาคโนนหัน
•
ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการฟื้นสภาพหลังผ่าตัดของผู้สูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม/ กมนทรรศน์ ยันต์เจริญ และคณะ