ดรรชนี
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก =
/ SERIALS
Bib
13399110454
มีดรรชนีวารสาร
•
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจแต่กำเนิดที่ได้รับการใส่อุปกรณ์ปิดรูรั่วที่ผนังกั้นหัวใจห้องล่าง/ รวีพรรณ เลขะวิพัฒน์
•
บทบาทพยาบาลและการสนับสนุนการตัดสินใจเลือกการรักษาในระยะสุดท้ายในผู้ป่วยวิกฤต:กรณีศึกษา/ กนกพร จิวประสาท
•
ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้แก่มารดา ต่อความรู้และพฤติกรรมในการดูแลบุตรโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว อายุ 0-2 ปี/ สาธิมา สงทิพย์
•
การศึกษาตัวชี้วัดผลลัพธ์การพยาบาลระบบทางเดินหายใจในผู้ป่วยเด็ก/ นิตยา สุวรรณเวศม์
•
ผลของการใช้รูปแบบพยาบาลเจ้าของไข้ต่อคุณภาพการดูแลตามการรับรู้ของญาติผู้ป่วยวิกฤตและความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพ/ ศรญา ยังเจริญ
•
ผลลัพธ์การจัดการรายกรณี ต่อความรู้ในการดูแลตนเองและระยะวันนอนของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง แผนกอายุรกรรม โรงพยาบาลศรีสะเกษ/ อังคณา บุญลพ
•
ประสิทธิผลของรูปแบบการมีส่วนร่วมของครอบครัวเพื่อครอบครัวไทยไร้ควันบุหรี่/ เดือนทิพย์ เขษมโอภาส
•
การเกิดปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤตที่ได้รับการดูแลโดยใช้แนวปฏิบัติที่ปรับปรุงจากหลักฐานเชิงประจักษ์/ สุกัญญา โพยนอก
•
การบูรณาการแนวคิดสร้างเสริมสุขภาพในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 : การรับรู้ของนักศึกษาพยาบาลและอาจารย์ผู้สอน/ ศรินรัตน์ วัฒนธรนันท์
•
การจัดการอาการหายใจลำบากในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง/ อัชฌารัฐ วังโสม
•
ผลลัพธ์ของการใช้โปรเเกรมการเปลี่ยนเเปลงพฤติกรรมโดยประยุกต์ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนเเปลงพฤติกรรมในผู้ป่วยภาวะโรคหัวใจล้มเหลว/ บุญส่ง นาคอ่อน
•
ปัจจัยทำนายจำนวนวันนอนโรงพยาบาลของผู้ป่วยสูงอายุมะเร็งทางเดินอาหารที่รักษาด้วยการผ่าตัด/ ประภาพร จินันทุยา
•
ปัจจัยทำนายการรับรู้ความพร้อมในการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของผู้ดูเเลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน/ รัตนา นิลเลื่อม
•
การพัฒนาระบบการพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่ได้รับการผ่าตัดหัวใจชนิดเปิด/ สุเนตรา แก้ววิเชียร
•
ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลต่ออัตราการเกิดการถอดท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางเเผนในผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจ/ สมพร นรขุน
•
การดูแลตนเองเกี่ยวกับการใช้ยาของผู้ใหญ่ที่เป็นหลอดเลือดเเดงโคโรนารี/ สุรีภร ฤทธิ์เรืองศักดิ์
•
ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลการดูแลช่องปากสำหรับผู้ป่วยที่ใส่ท่อทางเดินหายใจในภาวะวิกฤต/ วินิตย์ หลงละเลิง
•
การบูรณาการแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาพยาบาลผู้ใหญ่ 3/ ศิริพร พุทธรังษี
•
การรับรู้และการปฏิบัติของพยาบาลต่อการดูแลแบบประคับประคอง
•
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเลิกสูบบุหรี่ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ/ ชนิดา รำขวัญ และคณะ
•
ความเหนื่อยล้าและวิธีการจัดการกับความเหนื่อยล้าของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว ภายหลังออกจากโรงพยาบาล/ ลัลดาวัลย์ ไกรรักษ์
•
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสตรีมุสลิมที่มีภาวะอ้วน ในภาคใต้ตอนล่าง/ ปรีชารีฟ
•
ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว/ อณัศยา ซื่อตรง,ทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์
•
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการจัดการความรู้ทางการพยาบาลโรคหัวใจและหลอดเลือดในพยาบาลวิชาชีพ/ ดวงกมล วัตราดุลย์
•
การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล/ มนสรณ์