ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM

ดรรชนี

วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก = / SERIALS
Bib 13399110454
มีดรรชนีวารสาร
  •  การมีส่วนร่วมของชุมชน ในการส่วเสริมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง/ บำเพ็ญ พงศ์เพชรดิถ
  •  ผลของโปรรแกรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่มีโรคไตเรื้อรัง เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง/ อติเทพ ผาติอภินันท์
  •  ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้ป่วยใส่เครื่องกระตุกหัวใจแบบอัตโนมัติ/ อินทิรา โสภาภร์
  •  ความรู้และการปฏิบัติการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงที่ขา/ เบ็ญจวรรณ โศภิษฐพันธ์
  •  ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐาน ความรู้และพฤติกรรมของญาติผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงที่ขาตีบตัน/ ชุติรัตน์ สนปี
  •  ความรู้และการปฏิบัติของการพยาบาลวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงต่อโรคหลอดลเือดแดงที่ขาตีบตัน/ สุจินดา สวงโท
  •  การศึกษาตัวชี้วัดคุณภาพด้านผลลัพธ์การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัดทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ/ กัญญารัตน์ แก้วดำ
  •  ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเจ็บป่วยและพฤติกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง/ ขนิษฐา หมอยาดี
  •  การศึกษาตัวชี้วัดคุณภาพด้านผลลัพธ์การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัดทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ/ กัญญารัตน์ แก้วดำ
  •  ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเจ็บป่วยและพฤติกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพปอดในผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง/ ขนิษฐา หมอยาดี
  •  ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภายหลังการผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจนาน 3 เดือน/ สิริพร บุตตะพิมพ์ และคณะ
  •  ปัจจัยส่งเสริมการพัฒนาการดุแลผู้ป่วยและกลุ่งเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดในโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองระบบการดูแลเครือข่ายในชุมชน (PNC):การวิจัยเชิงคุณภาพ/ เพ็ญจันทร์ แสนประสาน
  •  พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงเปรียบเทียบระหว่างผู้ควบคุมระดับความดันโลหิตได้กับผู้ที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้กับผู้ที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้/ ปราณี ทัดศรี
  •  การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการสวนหัวใจผ่านทางหลอดเลือดแดงที่ข้อมือ : กรณีศึกษา/ แจ่มจันทร์ ประทีปมโนวงศ์
  •  ความคาดหวังของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดหัวใจแบบเปิดและผู้ดูแลผู้ป่วย : มุมมองจากการศึกษาเชิงคุณภาพ/ ณาตยา โสนน้อย
  •  ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเชื่อเกี่ยวกับการกินยาในพระสงฆ์อาพาธกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง/ เรณู ขวัญยืน
  •  ปัจจัยทำนายความตั้งใจในการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงของประชากรวัยผู้ใหญ่/ พัชราวดี ทองเนื่อง
  •  ปัจจัยทำนายความตั้งใจในการปฏิบัติเพื่อป้องกันการเกิดโรคความดันโลหิตสูงของประชากรวัยผู้ใหญ่/ พัชราวดี ทองเนื่อง,อัญณ์ยภัคสร ใจสมคม
  •  ปัจจัยทำนายระดับความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง/ นฤเบศร์ โกศล
  •  ภาวะโภชนาการและประสบการณ์ของผู้ดูแลในการจัดการด้านอาหารสำหรับเด็กป่วยโรคหัวใจพิการ แต่กำเนิดอายุ 0 - 3 ปี ในจังหวัดชายแดนใต้/ ธิดารัตน์ หวังสวัสดิ์
  •  ความชุกของกลุ่มอาการเมแทบอลิก และชนิดปัจจัยเมแมบอลิกในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ไม่อ้วน/ ชนม์ชนก บุญสุข,จอม สุวรรณโณ
  •  ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิดเอสทียกสูงหลังได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจ/ เกศริน ศรีเพ็ชร
  •  ปัจจัยทำนายการกลับเข้าพักรักษาซ้ำภายในช่วงเวลา 1 ปี หลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลด้วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน/ เศภวัลย์ เลิศพงศ์ภาคภูมิ
  •  ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเข้าถึงบริการล่าช้าของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายชนิดเอสทียก ของโรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์กรุงเทพมหานคร/ ภัทรสิริ พจมานพงศ์,ดวงกมล สุขทองสา,เบญจมาศ ตระกูลงามเด่น,ยุพา วงศ์รสไตร
  •  การพัฒนารูปแบบการสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในทารกแรกเกิดคลอดก่อนกำหนดที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดภาวะวิกฤตในสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี/ สุเนตรา แก้ววิเชียร และคณะ
  •  การพัฒนารูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม โรงพยาบาลมหาราชนครราชศรีธรรมราช/ ธารทิพย์ วิเศษธาร
  •  การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางคลินิกการพยาบาลผู้ป่วยกลุ่มอาการติดเชื้อในกระแสเลือดชนิดรุนแรง/ รัชนีวรรณ คูตระกูล และคณะ